ถุงพลาสติกกันสนิมหรือถุง VCI (Volatile Corrosion Inhibitor) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันสนิมบนผิวโลหะ โดยมีสาร VCI ผสมอยู่ในเนื้อพลาสติก ซึ่งจะระเหยออกมาและเคลือบผิวโลหะเป็นชั้นบางๆ ทำให้ความชื้นและอากาศไม่สามารถสัมผัสกับผิวโลหะได้ จึงช่วยป้องกันการเกิดออกซิเดชันหรือสนิม ถุงพลาสติกกันสนิมมีหลายรูปแบบ เช่น ถุงก้นสี่เหลี่ยม (Square Shape Bottom Bags) ที่เหมาะกับภาชนะทรงสี่เหลี่ยม เช่น ลังพลาสติกหรือกล่องลูกฟูก และยังมีถุงที่ผลิตตามขนาดที่ต้องการได้ด้วย
Tag: ถุงกันสนิม
ENDUPAK : ถุงพลาสติกกันสนิมสีฟ้า
ถุงพลาสติกกันสนิมเป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีสาร VCI (Volatile Corrosion Inhibitor) ผสมอยู่
เพื่อป้องกันการเกิดสนิมบนผิวโลหะที่บรรจุอยู่ภายใน สาร VCI จะระเหยออกมาจากเนื้อพลาสติกและเคลือบผิวโลหะเป็นชั้นบางๆ ทำให้ความชื้นและอากาศไม่สามารถสัมผัสกับผิวโลหะได้ จึงไม่เกิดการออกซิเดชันหรือสนิม นอกจากนี้ ถุงพลาสติกกันสนิมยังมีหลายรูปแบบ เช่น ถุงก้นสี่เหลี่ยม (Square Shape Bottom Bags) ที่เหมาะกับภาชนะทรงสี่เหลี่ยม เช่น ลังพลาสติกหรือกล่องลูกฟูก การใช้งานถุงพลาสติกกันสนิมช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิผลในการจัดเก็บและขนส่งชิ้นส่วนโลหะ โดยไม่ต้องใช้น้ำมันกันสนิมหรือสารป้องกันสนิมอื่นๆ
ENDUPAK : ถุงพลาสติกกันสนิมบรรจุชิ้นส่วนโลหะ
พลาสติกกันสนิม ( VCI Plastic)
เป็นวัสดุที่ใช้สำหรับป้องกันการเกิดสนิมบนผิวโลหะ โดยมีสารป้องกันการเกิดสนิม (Volatile Corrosion Inhibitor หรือ VCI) เคลือบอยู่ในเนื้อพลาสติก ซึ่งจะระเหยออกมาและเคลือบผิวโลหะเป็นชั้นบางๆ ทำให้ความชื้นและอากาศไม่สามารถสัมผัสกับผิวโลหะได้ จึงช่วยป้องกันการออกซิเดชันหรือการเกิดสนิม กระดาษกันสนิมสามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์ห่อหุ้มชั้นนอก, ชั้นภายใน, วางแทรกระหว่างชั้น และป้องกันการเกิดปฏิกิริยาของโลหะที่มีความชื้นชื่งทำให้เกิดการกัดกร่อน นอกจากนี้ ยังสามารถป้องกันสนิมได้นานถึง 18-36 เดือน
ENDUPAK : ถุงพลาสติกที่ผสมสารกันสนิม
ถุงพลาสติกกันสนิม หรือ ถุง VCI (Volatile Corrosion Inhibitor) เป็น ถุงพลาสติกที่ผสมสาร VCI ลงไปในเนื้อพลาสติก เพื่อป้องกันการเกิดสนิมบนผิวโลหะที่บรรจุอยู่ภายในสาร VCI จะระเหยออกมาจากเนื้อพลาสติกและเคลือบผิวโลหะเป็นชั้นบางๆ ทำให้ความชื้นและอากาศไม่สามารถสัมผัสกับผิวโลหะได้ จึงไม่เกิดการออกซิเดชันหรือสนิม
ถุงพลาสติกกันสนิมมีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับความหนาของพลาสติก การผสมสาร VCI และการผสมกับวัสดุอื่นๆ เพื่อเพิ่มความทนทาน บางประเภทยังมีการพิมพ์โลโก้หรือข้อความบนถุงเพื่อเพิ่มความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์
การแพ้คชิ้นส่วนเครื่องยนต์ด้วยพลาสติกกันสนิมในลังไม้
ลังไม้กับชิ้นส่วนโลหะอาจจะเป็นของต้องห้ามที่ไม่ค่อยถูกกันสักเท่าไหร่เพราะเมื่อวานอยู่ใกล้กันทีไรก็มักจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับสนิมเนื่องจากตัวหมายมีความสามารถในการเก็บความชื้นดังนั้นจึงไม่ควรอย่างยิ่งที่จะแพคหรือบรรจุชิ้นส่วนโลหะลงไปในลังไม้โดยตรง
วันนี้ทางกรีนวีซีไอขอนำเสนอวิธีการแพคชิ้นส่วนโลหะซึ่งในตัวอย่างได้แก่ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ลงไปในถุงพลาสติกกับสนิมกับลังไม้ เพื่อใช้ในการจัดเก็บหรือขนส่งระยะนานๆ
ในขั้นตอนที่หนึ่งเราจะรองก้นลังไม้ด้วยถุงพลาสติกกันสนิมรูปทรงสี่เหลี่ยม (Square Bottom bags) ซึ่งทางบริษัทสามารถออกแบบขนาดถุงให้มีขนาดกว้าง/ยาวและความสูงของถุงพอดีสำหรับการใช้กับภาชนะนั้นๆ
จากนั้นก็ทำการบรรจุชิ้นส่วนโลหะลงไปในลังไม้ซึ่งถูกรองก้นด้วยถุงพลาสติกกันสนิมและทำการพับปิดปากถุงให้สนิท โดยในขั้นตอนนี้ถ้าจะต้องการเสริมความเข้มข้นด้วยกันเติมสารป้องกันสนิมตัวอื่น (VCI Supplements) ลงไปเช่น สารดูดความชื้นและป้องสนิม (VCI Desiccant) หรือ VCI Diffuser ก็สามารถทำได้ในขั้นตอนนี้
ถุงพลาสติกกันสนิมรองก้นกะบะใส่ชิ้นงาน
ถุงพลาสติกกันสนิม#สีใส สำหรับรองก้นกะบะพลาสติกสำหรับใส่ชิ้นงาน
โครงสร้างพลาสติกชนิด LDPE มีความเหนียวยึดหยุ่น ป้องกันน้ำได้ด้วยตัวมันเอง
ถุงมีการออกแบบและคำนวณขนาดถุงไว้เพื่อให้สามารถพับปิดปากถุง
ถุงพลาสติกกันสนิม_สีส้มโอรส
รับสั่งผลิตถุงพลาสติกกันสนิม ตามสีที่ลูกค้าต้องการ โดยสามารถผลิตเป็นถุงพลาสติกรูปทรงต่างๆ
ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดยเฉพาะถุงพลาสติกรูปทรงสี่เหลี่ยม สำหรับใช้รองก้นภาชนะหรับบรรจุชิ้นงาน โดยทำเป็นถุงรูปทรงสี่เหลี่ยม พอดีกับขนาดของภาชนะ สะดวกในการใช้งาน
โดยทางทีมงานของสามารถช่วยออกแบบขนาดถุงให้มีความยาวของปากถุงเหลือพอที่จะสามารถพับปิดปากถุงได้หลังจากบรรจุชิ้นงานเสร็จเรียบร้อย
Continue reading “ถุงพลาสติกกันสนิม_สีส้มโอรส”ถุงกันสนิมจานเบรค
VCI Poly Bag for Disc Brake Storage
ในปัจจุบันกระแสเกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้ากำลังเป็นที่น่าสนใจเนื่องจากใช้พลังงานจากปลา 100% จึงไม่มีการปล่อยมลพิษของมาแต่ในอีกมุมหนึ่งสำหรับษากัมไทยก่อนหน้าเป็นห่วงเช่นกันเนื่องจากรถยนต์แบบไฟฟ้าใช้ชิ้นส่วนน้อยกว่า รถยนต์เครื่องยนต์สันดาปภายใน หรือรถยนต์ที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง
ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตชิ้นส่วนตั้งแต่รายย่อยเป็นรายใหญ่
ซึ่งตรงนี้ก็คงต้องปรับตัวกันไปเพื่อความอยู่รอด
แต่ก็ยังมีชิ้นส่วนหลักบางส่วนที่ไม่ว่าจะเปลี่ยนรถจอดจนแบบใช้น้ำมันก็จะมีชิ้นส่วนเหมือนกัน
เช่นเบาะนั่ง (seating) พวงมาลัย(steering) และระบบเบรก (brake system)
สำหรับโพสต์นี้อยากจะนำเสนอเกี่ยวกับการใช้ถุงพลาสติกกันสนิมเราในการจัดเก็บชิ้นส่วนจานดิสก์เบรค
เนื่องจากจานดิสเบรคยังจำเป็นต้องผลิตจากโลหะและเป็นชิ้นส่วนหนึ่งที่ไม่สามารถทำได้ดังนั้นระหว่างการผลิตและจัดส่งอาจเกิดสนิมที่ผิวโลหะได้ ถุงพลาสติกกันสนิมคือถุงพลาสติกประเภทพีอี หรือ Polyethylene ที่มีส่วนผสมของสารจากสารกันสนิมหรือสาร VCI ที่มีคุณสมบัติในการปล่อยโมเลกุลของสารป้องกันสนิมออกมาจากเนื้อถุงซึ่งโมเลกุลเหล่านี้จะเข้าเกาะที่ผิวของโลหะเพื่อทำหน้าที่เหมือนเป็นชั้นฟิล์มเคลือบผิวของจานดิสไว้ป้องกันการเกิดออกซิเดชันเป็นสาเหตุของการเกิดสนิม
ถุงกันสนิมแบบพับข้าง
Side Gusseted VCI Poly Bag
เป็นถุงกันสนิมอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ส่วนด้านข้างของถุงจะมีพับซ้อนเข้าไปด้านข้าง เพื่อให้สามารถขยายออกได้เมื่อกางออกเพื่อรองก้นกล่อง หรือใส่ชิ้นงานลงไป
ซึ่งในการบอกสเปคขนาดถุงอาจจะมีความซับซ้อนกว่าถุงแบบเปิดปากปกติอยู่นิดนึง คือ
- ความกว้าง (Width)
คิดการวัดขนาดจากด้านซ้ายไปขวา ของความกว้างถึง เมื่อตอนพับแบนราบไปกับพื้น
2.ระยะจีบด้านข้าง(D)
ซึ่งปกติจะมีสองฝั่งคือทั้งด้านซ้ายและขวา และโดยปกติ จะมีระยะเท่ากัน
3.ด้านยาว (Length)
คือการวัดความยาวจากปากถุงก้นถุง อาจจะลงรายละเอียดว่ารวม หรือไม่รวมตะเข็บแนวซีล ก็ได้
พลาสติกกันสนิมพันม้วนเหล็กคอยล์
- เหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon Steel) มีส่วนผสมของคาร์บอนเป็นหลักที่ไม่เกิน 1.7% และมีธาตุอื่นผสม เช่น ซิลิคอน ฟอสฟอรัส กำมะถัน
แมงกานีส ในปริมาณน้อย จะติดมากับเนื้อเหล็กตั้งแต่เป็นสินแร่ เหล็กชนิดนี้เป็นวัสดุช่างชนิดเดียว ที่มีคุณสมบัติทางความแข็งแรง (Strength)
ความอ่อนตัว (Ductility) ที่เปลี่ยนแปลงได้กว้างมากตามปริมาณของคาร์บอนที่มีอยู่ในเหล็ก ทำให้เหมาะที่จะเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของลักษณะงานบางครั้งที่เรียกว่า “Mild Steel”
เหล็กกล้าคาร์บอนแบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ - เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Steel) เป็นเหล็กเหนียวแต่ไม่แข็งแรงนัก สามารถนำไปกลึง กัด ไส เจาะได้ง่าย เนื่องจากเป็น
เหล็กที่อ่อน สามารถรีดหรือตีเป็นแผ่นได้ง่าย เหมาะกับงานที่ไม่ต้องการความเค้นแรงดึงสูงนัก ไม่สามารถนำมาชุบแข็งได้ แต่ถ้าต้องการ
ชุบแข็งต้องใช้วิธีเติมคาร์บอนที่ผิวก่อน เพราะมีคาร์บอนน้อย (ไม่เกิน 0.2%) ตัวอย่างการใช้งาน เช่น เหล็กแผ่นหม้อน้ำ ท่อน้ำประปา
เหล็กเส้นในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เหล็กเคลือบดีบุก เช่น กระป๋องบรรจุอาหาร เหล็กอาบสังกะสี เช่น แผ่นสังกะสีมุงหลังคา ตัวถังรถยนต์
ถังน้ำมัน งานย้ำหมุด สกรู ลวด สลักเกลียว ชิ้นส่วนอะไหล่เครื่องจักร โซ่ บานพับประตู - เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง (Medium Carbon Steel) เป็นเหล็กที่มีความแข็งแรงและความเค้นแรงดึงมากกว่าเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ
แต่มีความเหนียวน้อยกว่า นอกจากนี้ยังให้คุณภาพในการแปรรูปที่ดีกว่าและยังสามารถนำไปชุบผิวแข็งได้ เหมาะกับงานที่ต้องการความเค้น
ดึงปานกลาง ต้องการป้องกันการสึกหรอที่ผิวหน้า และต้องการความแข็งแรง แต่มีความแข็งบ้างพอสมควร เช่น ทำชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
ทำรางรถไฟ เพลาเครื่องกล เฟือง หัวค้อน ก้านสูบ สปริง ชิ้นส่วนรถไถนา ไขควง ท่อเหล็ก นอต สกรูที่ต้องแข็งแรง - เหล็กกล้าคาร์บอนสูง (High Carbon Steel) เป็นเหล็กมีความแข็งแรง และทนความเค้นแรงดึงสูง มีเปอร์เซ็นต์คาร์บอน 0.5-1.5%
สามารถทำการชุบแข็งได้แต่จะเปราะ เหมาะสำหรับ งานที่ต้องการความต้านทานต่อการสึกหล่อ เช่น ดอกสว่าน สกัด กรรไกร มีดคลึง
ใบเลื่อยตัดเหล็ก ดอกทำเกลียว (Tap) ใบมีดโกน ตะไบ แผ่นเกจ เหล็กกัด สปริงแหนบ ลูกบอล แบริ่งลูกปืน